ร่วมลงนาม ยกเลิกกฎหมาย 3 ฉบับ มั่นคงภายใน - กฎอัยการศึก - พ.ร.ก.ฉุกเฉิน"

ร่วมลงนาม ยกเลิกกฎหมาย 3 ฉบับ มั่นคงภายใน - กฎอัยการศึก - พ.ร.ก.ฉุกเฉิน
ร่วมลงนาม ยกเลิกกฎหมาย 3 ฉบับ มั่นคงภายใน - กฎอัยการศึก - พ.ร.ก.ฉุกเฉิน
ร่วมลงนาม ยกเลิกกฎหมาย 3 ฉบับ มั่นคงภายใน - กฎอัยการศึก - พ.ร.ก.ฉุกเฉิน

วันเสาร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554

แอดมิชชั่นสูบเลือดผู้ปกครอง ทำลายสมอง สุขภาพจิต และอนาคตลูกหลานไทย


จาก: lee lee <thai9lee@gmail.com>
วันที่: 19 มกราคม 2554, 21:13
หัวเรื่อง: แอดมิชชั่นสูบเลือดผู้ปกครอง ทำลายสมอง สุขภาพจิต และอนาคตลูกหลานไทย
ถึง:

http://www.parent-youth.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538688970&Ntype=3


เอดมิชชั่น   :      สูบเลือดผู้ปกครอง ทำลายสมอง สุขภาพจิต  อนาคตลูกหลาน ไทย


แอมดิชั่นการสอบเข้ามหาลัยปี 49  

 มหาลัย  ประกาศว่าจะใช้เกณฑ์ นี้เมื่อ วันที่ 11 พค.   48    และให้นักเรียน   สอบเดือน กพ มีค.  49   ใช้เกณฑ์ 4  อย่างคือ

1) GPAX     10 %คือเกรด  คะแนน รวม  ระดับม.4-6    ทุกรายวิชา

2) GPA คือเกรด  คะแนน รวม  ไม่เกิน 5 กลุ่มสาระวิชา 20 %

3) แบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ หรือโอเน็ต O-Net** (Ordinary National Educational Test) 35 - 70 %ไม่เกิน 5 กลุ่มสาระวิชา จาก 8 กลุ่มสาระวิชา คือ ภาษาไทย สังคม(ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศาสนา  ฯ)    อังกฤษ    เลข  และวิทยาศาสตร์(เคมี ชีวะ ฟิสิค)  เด็กทุกคนต้องสอบเหมือนกันหมด ไม่ว่าสายวิทย์    หรือศิลป์

 4) การสอบวัดความรู้ในระดับสูง หรือเอเน็ต   35 % A-NET** (Advanced National Educational Test) เป็นการทดสอบในระดับสูงขึ้น ไม่เกินสามวิชา

ปัญหาที่เกิดขึ้น

1 ไม่ยุติธรรม  เกณฑ์พึ่งประกาศปีนี้  แต่คะแนนเก็บ  เอาของชั้นม.4 ที่ผ่านมาแล้ว สองปี

2 วิชาที่ไม่ได้เรียนมาสองปี ก็นำมาสอบ เช่นในโรงเรียนนำร่องบางแห่ง  ไม่มีสอน  ในสายศิลป์  หลายคนมุ่ง อยากเข้าเรียนในคณะที่ตนต้องการเรียน โดยที่เขาได้เตรียมตัวสอบ ในวิชานั้นๆมาแล้ว แต่ต้องมาอ่านวิชาที่ไม่เคยเรียน  เช่นคณะสายศิลป์ กลับต้องสอบวิชา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์

ท่านลองคิดดูว่า นักเรียนที่เรียนสายศิลป์ ส่วนใหญ่ย่อมถนัดไปทางภาษา    และเรียน คณิตศาสตร์ ได้ไม่ดีนัก

 แล้ววิชาภาษาต่างประเทศ เช่น จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น บาลี เยอรมัน กลับไม่มีการสอบ แต่ให้สอบ วิทยาศาตร์ และคณิตศาสตร์แทน แล้วอย่างนี้จะให้เรียนไปทำไม

3 ไม่ตรงกับการพัฒนาเด็ก  ที่ถูกต้อง  เช่น  บางโรงเรียนที่นำร่อง  ปฎิรูปหลักสูตรตาม childed center  กลับต้อง เปลี่ยนเป็นหลักสูตรเก่าเพื่อให้เด็ก  เข้ามหาลัยได้

 แต่ทำลาย ระบบ  childed center  เด็กยิ่งเรียนสูงขึ้น ไอคิว(วัดความสามารถทางวิเคราะห์)  ลดลง  สุขภาพจิตแย่  เครียด

4. แอดมิสชั่น สร้างภาระ ค่ากวดวิชาให้ผู้ปกครองเป็นอย่างมาก คนที่ดูเหมือนจะรวยในนาทีนี้ก็คือ สถาบันกวดวิชาต่างๆ  และครูในโรงเรียนที่ขาดความเป็นครู 
เพราะจะบอกข้อสอบเฉพาะเด็กที่เรียนพิเศษกับตนเท่านั้น  วิชาหนึ่งก็ 500-4500 บาทต่อเทอม     ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างเด็กมีเงินกับเด็กยากจน 

สร้างแบบอย่างเลวๆ ให้เด็กเห็นตั้งแต่มัธยม
 
5.นักเรียนขาดความสุขกับการเรียน เพราะต้องมานั่ง กวดวิชาที่ตัวเองไม่ได้เตรียมตัวมาก่อนเพื่อสอบ โอเนต +เอเนต

 เช่น  นักเรียนที่ต้องการเรียนคณะอักษรศาสตร์ กลับต้องสอบ วิทย์       สถาปัตย์ ต้องสอบ ชีวะ             รัฐศาสตร์ ต้องสอบ เลข วิทย์

6.ที่สำคัญตอนนี้เกรดเฉลี่ย ล้นมากล้นเมืองเหลือเกิน ทั่วราชอาณาจักร 4.00 เยอะมากๆ เพราะผลพวงจากการเพิ่ม จีพีเอ

7.การเพิ่มค่าน้ำหนักในการสอบ  รายวิชาต่างๆ      ไม่ตรงกับการเรียนในมหาลัย   เช่น พวกคณะศิลป์ เน้น ภาษา ไม่ต้องใช้วิทย์ คณิต     แต่การกำหนดให้ค่าน้ำหนักแบบไม่สมเหตุสมผล

ทางออก
1    GPA  ควร แค่ 0-10  %  เพราะไม่มีมาตรฐาน   ส่งเสริมครู ทำมาหากินกับเด็ก

2    ONET   ควรจะสอบเฉพาะ บางวิชาที่ตรงกับคณะที่จะเรียน   และให้สอบน้อยวิชามากสุด  เน้นการวิเคราะห์  เช่นสายศิลป์ไม่ควรสอบวิทย์ คณิต     ต้องคำนึงถึงโรงเรียนนำร่องหลักสูตรการศึกษา  ด้วย    ควรมีการประชาพิจารณ์ก่อนประกาศใช้   และประกาศล่วงหน้าสามปี  

3    มีกฎหมายลงโทษครูกักข้อสอบ  เพื่อทำมาหากิน

4    มีกฎหมายควบคุม โรงเรียนกวดวิชา ทั้งค่าเล่าเรียน   เวลาที่สอน  และสถานที่สอน  หรือยกเลิกไปเลย

5    มีกำหมายลงโทษ ผู้ที่ทำให้ข้อสอบรั่ว  ทั้งANET   ONET  ข้อสอบโรงเรียนเอง

6    ประกาศก่อนล่วงหน้า   สามปี 

7    มีผลวิจัยรองรับข้อดีข้อเสีย
 
8      มีการวัดไอคิวเด็กทุกปี     มีการสำรวจสถิติเด็กทางด้านสุขภาพจิต

พญ กมลพรรณ  ชีวพันธุศรี    www.parent-youth.net
โทร  012980284         แฟกซื 02-7637722




http://www.parent-youth.net/index.php?lay=boardshow&ac=webboard_show&WBntype=1&Category=parent-youthnet&thispage=10&No=384359

แอดมิชชั่น สูบเลือดผู้ปกครอง ทำลายสมอง ,สุขภาพจิต และอนาคตลูกหลานไทย


เอดมิชชั่น : สูบเลือดผู้ปกครอง ทำลายสมอง สุขภาพจิต อนาคตลูกหลานไทย

แอมดิชั่นการสอบเข้ามหาลัยปี 49
มหาลัย ประกาศว่าจะใช้เกณฑ์ นี้เมื่อ วันที่ 11 พค. 48 และให้นักเรียน สอบเดือน กพ มีค. 49 ใช้เกณฑ์ 4 อย่างคือ

1) GPAX 10 %คือเกรด คะแนน รวม ระดับม.4-6 ทุกรายวิชา

2) GPA คือเกรด คะแนน รวม ไม่เกิน 5 กลุ่มสาระวิชา 20 %

3) แบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ หรือโอเน็ต O-Net** (Ordinary National Educational Test) 35 - 70 %ไม่เกิน 5 กลุ่มสาระวิชา จาก 8 กลุ่มสาระวิชา คือ ภาษาไทย

สังคม(ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศาสนา ฯ)
อังกฤษ เลข
และวิทยาศาสตร์(เคมี ชีวะ ฟิสิค)
เด็กทุกคนต้องสอบเหมือนกันหมด ไม่ว่าสายวิทย์ หรือศิลป์

4) การสอบวัดความรู้ในระดับสูง หรือเอเน็ต 35 % A-NET** (Advanced National Educational Test) เป็นการทดสอบในระดับสูงขึ้น ไม่เกินสามวิชา

ปัญหาที่เกิดขึ้น
1 ไม่ยุติธรรม เกณฑ์พึ่งประกาศปีนี้ แต่คะแนนเก็บ เอาของชั้นม.4 ที่ผ่านมาแล้ว สองปี
2 วิชาที่ไม่ได้เรียนมาสองปี ก็นำมาสอบ เช่นในโรงเรียนนำร่องบางแห่ง ไม่มีสอน ในสายศิลป์ หลายคนมุ่ง อยากเข้าเรียนในคณะที่ตนต้องการเรียน โดยที่เขาได้เตรียมตัวสอบ ในวิชานั้นๆมาแล้ว แต่ต้องมาอ่านวิชาที่ไม่เคยเรียน เช่นคณะสายศิลป์ กลับต้องสอบวิชา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ท่านลองคิดดูว่า นักเรียนที่เรียนสายศิลป์ ส่วนใหญ่ย่อมถนัดไปทางภาษา และเรียน คณิตศาสตร์ ได้ไม่ดีนัก แล้ววิชาภาษาต่างประเทศ เช่น จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น บาลี เยอรมัน กลับไม่มีการสอบ แต่ให้สอบ วิทยาศาตร์ และคณิตศาสตร์แทน แล้วอย่างนี้จะให้เรียนไปทำไม

3 ไม่ตรงกับการพัฒนาเด็ก ที่ถูกต้อง เช่น บางโรงเรียนที่นำร่อง ปฎิรูปหลักสูตรตาม childed center กลับต้อง เปลี่ยนเป็นหลักสูตรเก่าเพื่อให้เด็ก เข้ามหาลัยได้ แต่ทำลาย ระบบ childed center เด็กยิ่งเรียนสูงขึ้น ไอคิว(วัดความสามารถทางวิเคราะห์) ลดลง สุขภาพจิตแย่ เครียด

4. แอดมิสชั่น สร้างภาระ ค่ากวดวิชาให้ผู้ปกครองเป็นอย่างมาก คนที่ดูเหมือนจะรวยในนาทีนี้ก็คือ สถาบันกวดวิชาต่างๆ และครูในโรงเรียนที่ขาดความเป็นครู เพราะจะบอกข้อสอบเฉพาะเด็กที่เรียนพิเศษกับตนเท่านั้น วิชาหนึ่งก็ 500-4500 บาทต่อเทอม ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างเด็กมีเงินกับเด็กยากจน สร้างแบบอย่างเลวๆ ให้เด็กเห็นตั้งแต่มัธยม

5.นักเรียนขาดความสุขกับการเรียน เพราะต้องมานั่ง กวดวิชาที่ตัวเองไม่ได้เตรียมตัวมาก่อนเพื่อสอบ โอเนต +เอเนต เช่น นักเรียนที่ต้องการเรียนคณะอักษรศาสตร์ กลับต้องสอบ วิทย์ สถาปัตย์ ต้องสอบ ชีวะ รัฐศาสตร์ ต้องสอบ เลข วิทย์
6.ที่สำคัญตอนนี้เกรดเฉลี่ย ล้นมากล้นเมืองเหลือเกิน ทั่วราชอาณาจักร 4.00 เยอะมากๆ เพราะผลพวงจากการเพิ่ม จีพีเอ

7.การเพิ่มค่าน้ำหนักในการสอบ รายวิชาต่างๆ ไม่ตรงกับการเรียนในมหาลัย เช่น พวกคณะศิลป์ เน้น ภาษา ไม่ต้องใช้วิทย์ คณิต แต่การกำหนดให้ค่าน้ำหนักแบบไม่สมเหตุสมผล

ทางออก
1 GPA ควร แค่ 0-10 % เพราะไม่มีมาตรฐาน ส่งเสริมครู ทำมาหากินกับเด็ก
2 ONET ควรจะสอบเฉพาะ บางวิชาที่ตรงกับคณะที่จะเรียน และให้สอบน้อยวิชามากสุด เน้นการวิเคราะห์ เช่นสายศิลป์ไม่ควรสอบวิทย์ คณิต

ต้องคำนึงถึงโรงเรียนนำร่องหลักสูตรการศึกษา ด้วย ควรมีการประชาพิจารณ์ก่อนประกาศใช้ และประกาศล่วงหน้าสามปี

3 มีกฎหมายลงโทษครูกักข้อสอบ เพื่อทำมาหากิน
4 มีกฎหมายควบคุม โรงเรียนกวดวิชา ทั้งค่าเล่าเรียน เวลาที่สอน และสถานที่สอน หรือยกเลิกไปเลย

5 มีกฎหมายลงโทษ ผู้ที่ทำให้ข้อสอบรั่ว ทั้งANET ONET ข้อสอบโรงเรียนเอง
6 มีผลวิจัยรองรับข้อดีข้อเสีย

8 มีการวัดไอคิวเด็กทุกปี( เด็กไทย ไอคิว 92
เด็กอเมริกาไอคิว 120 ) มีการสำรวจสถิติเด็กทางด้านสุขภาพจิต

 



 












ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น